หน้าหลัก > ศูนย์การเรียนรู้ > คู่มือนักลงทุน > E-Dividend
ศูนย์การเรียนรู้
- เริ่มต้นใช้งาน
- คู่มือการใช้ POEMS 2.0
- คู่มือการใช้ Smart Order
- คู่มือการใช้ Derivatives Trading
- Global Markets
- คู่มือนักลงทุน
- ช่องทางการรับเงินจากลูกค้า
- ช่องทางการสมัครใช้บริการ หักบัญชีอัตโนมัติ ATS
- คู่มือใช้บริการของธนาคารผ่านระบบ Bill Payment
- ประกาศหลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการโอนหลักทรัพย์
- E-Dividend
- NVDR
- Investment unit
- โครงการอนุญาโตตุลาการ
- ยกเว้นค่าธรรมเนียม การหักบัญชีเงินฝากธนาคาร
- นโยบายการขายและให้บริการ ผลิตภัณฑ์ในตลาดทุนที่เป็นหน่วยลงทุน / ตราสารหนี้
- ระบบซื้อขายใหม่
- POEMS Mobile
- Phillip Fund SuperMart Plus App
- STOCK PICK
- SETTRADE Streaming
- เปรียบเทียบโปรแกรมเทรด
- การตั้งค่า Profile บน Website
- การตั้งค่า Profile บน Applications
- การเปิดดูไฟล์ PDF บนระบบ Android
- Knowledge Center
- ลงทุนให้รุ่ง กับ Mr. Phillip
- 4 เหุตผล ที่คุณควรเริ่มลงทุน
- วางเงินไว้ที่ไหน ให้เหมาะกับความเสี่ยง และผลตอบแทนที่เราอยากได้?
- อยากรวยด้วยการลงทุน... อย่าใส่ไข่ไว้ในตะกร้าใบเดียว!
- 4 เหตุผล ที่ควรกระจายการลงทุนไปต่างประเทศ
- 4 เรื่องต้องรู้ ก่อนลงมือ DCA
- เทคนิคง่าย ๆ ช่วยมือใหม่ หาหุ้นตัวแรก
- จะ DCA ในกองทุนรวม ควรเลือกอย่างไร?
- ซื้อหุ้น IPO มักจะกำไรจริงหรือ?
- Money Management สำคัญอย่างไร
- ทำไมอัตราดอกเบี้ย ถึงส่งผลกระทบกับการลงทุนในตลาดทุน?
- หุ้น Global play และ Domestic play คืออะไร
- หุ้น Growth ที่ดี ควรเป็นอย่างไร
- Defensive stock ที่ดี ควรเป็นอย่างไร
- ลงทุนไปแล้วมีกำไร ควรทำยังไงต่อดี?
- 3 เหตุผลที่ทางการจีนเข้ามาเข้มงวด ในตลาด Technology จีน
- เมื่อพอร์ตลงทุนติดลบ แบบไหนควรจะถือต่อ แบบไหนควรจะพอและตัดขาดทุน?
- อยากเป็นนักลงทุนสายเทคนิค ต้องรู้อะไรบ้าง?
- หุ้น ESG คืออะไร ทำไมใครๆ ก็พูดถึง?
- นักลงทุนสาย Fundamental เลือกหุ้นจากอะไรบ้าง
- กลยุทธ์การเลือกหุ้นแบบ Hybrid Fundamental + Technical แบบนี้ก็ได้เหรอ?
- เทรดต่างประเทศ ปิดความเสี่ยงด้วย Inverse ETF
- “ไม่ขายไม่ขาดทุน” ความผิดพลาดมหันต์ของมือใหม่หัดลงทุน
- Fear Of Missing Out (FOMO) สิ่งที่ทำให้มือใหม่มักติดดอย
- ราคาหุ้นถูก ไม่ได้แปลว่าหุ้นนั้นถูกเสมอไป
- ซื้อแพงขายถูก ปัญหาที่นักลงทุนมือใหม่เกือบทุกคนต้องพบเจอ
- ค่าเสียโอกาส ที่มือใหม่ควรรู้
- ใช้อดีตกำหนดอนาคต ข้อผิดพลาดที่นักลงทุนมือใหม่มักทำ
- Hidden Agenda ในงบการเงินแบบไหน ที่มือใหม่ไม่ควรมองข้าม!!
- ข่าวลือ หรือ ข่าวลวง ทำหุ้นร่วง มือใหม่ควรรับมืออย่างไร
- 5 สิ่งที่ต้องรู้ ถ้าอยากเป็นนักลงทุน VI
- ทำไมตลาดหุ้นผันผวน เมื่อดอกเบี้ยขึ้น? นักลงทุนมือใหม่จะเอาอย่างไรดี?
- 5 Step เริ่มต้น เมื่อมือใหม่สนใจลงทุนหุ้นต่างประเทศ
- Mittelstand พลังที่ขับเคลื่อนเยอรมัน
- 4 ข้อผิดพลาดของนักลงทุน ช่วงตลาดผันผวน
- 4 อารมณ์ความรู้สึก ที่อาจสร้างปัญหาการลงทุน และวิธีหลีกเลี่ยง
- ทำความรู้จักเครื่องหมายตระกูลX ที่นักลงทุนมือใหม่ควรทราบ
- เลือกลงทุนหุ้นปันผล มีดีอะไร (มีความเสี่ยงอะไรบ้าง?)
- รายรับ กำไร รายได้ ต่างกันอย่างไร?
- 6 สไตล์การลงทุน ของสุดยอดนักลงทุนระดับโลก
- เงินเฟ้อสูง ดอกเบี้ยพุ่ง ส่งผลต่อพอร์ตการลงทุนของเราอย่างไร แล้ว...จะเลือกลงทุนอะไรดี?
- เทรด Gold futures จะช่วยอะไรได้บ้าง ในภาวะเงินเฟ้อสูง
- อนาคตธุรกิจ E-Commerce ยังดีหรือไม่?
- 3 หุ้นดัง ที่สร้างผลตอบแทนสม่ำเสมอ
- Time Value ในฟิวเจอร์ส และ Cost of Carry บอกอะไรเราได้บ้าง?
- 3 ธุรกิจสิงคโปร์ สำหรับลงทุนช่วงเงินเฟ้อ
- ทำไมสิงค์โปร์ถึงเป็นประเทศที่ควรค่า แก่การลงทุนในธุรกิจ EV?
- 4 เหตุผล ที่ตลาดหุ้นญี่ปุ่นยังน่าลงทุน
- กองทุนหุ้นจีนน่าสะสม ช่วงตลาดผันผวน
- พื้นฐาน Crypto Futures ที่ควรรู้
- 5 สายผลิตภัณฑ์ทำกำไรสูงของ Apple
- 7เหตุผล ที่ตลาดเวียดนามน่าลงทุน
- เข้าใจบริการ Cloud Computing ก่อนการลงทุน
- หุ้น Blue Chip คืออะไร
- DLC 101
- ทำความรู้จัก 3 หุ้น UK
- 3 เหตุผล ทำไม พลังงานหมุนเวียน น่าลงทุน?
- 5 วิธีจัดการเรื่องเงิน รับมือเศรษฐกิจถดถอย
- 7 บริษัทเด่น ในธุรกิจเหมืองลิเธียม
- รู้หมือไร่ ความเหมือนที่แตกต่าง ระหว่าง DW และ DLC
- Q4 ที่ตลาดเริ่มเงียบ แต่หุ้นเหล่านี้มีความน่าสนใจ
- 10 บริษัทอาหารและเครื่องดื่มยักษ์ใหญ่ของญี่ปุ่น ที่คุณก็ลงทุนได้
- 2 เหตุผล ที่ตราสารหนี้ยังสำคัญกับพอร์ต
- 6 บริษัทเทคผู้ผลิต USB-C พอร์ตเชื่อมต่อมาตรฐานยุโรป
- แนวทางใช้เงินหลังเกษียณ
- เปิดโผกลุ่มหุ้น Sponsor ฟุตบอลโลก 2022 เลี้ยงพอร์ตโตต้อนรับปีใหม่
- หุ้นอเมริกากับเทศกาลคริสต์มาส
- Asset Allocation First
- พอร์ตลงทุน VS พอร์ตชีวิต
- ทำไมประกัน จึงเป็นออปชั่นของชีวิต?
- 5 เครื่องมือ ออมเงินเพื่อวัยเกษียณ
- วางแผนเกษียณ อย่ารอใกล้เกษียณ
- เงินทิพย์ – แชร์ลูกโซ่ กับผลตอบแทนที่ไม่มีอยู่จริง
- เก็บเงินยังไง ให้ลูกมีทุนเรียนปริญญาตรี?
- ซื้อประกันลดหย่อนภาษี ได้ผลตอบแทนจริง ๆ เท่าไหร่?
- เมื่อมีเงินก้อน…ระหว่างลงทุนกับโปะหนี้ เลือกอะไรดี?
- ของขวัญวันแม่….มากคุณค่า
- เติมสุขหลังเกษียณ ด้วยการวางแผนกระแสเงินสด
- ยิ่งมีหนี้ ยิ่งต้องวางแผนการเงิน!!!
- เบี้ยประกันอะไรบ้าง ใช้ลดหย่อนภาษีได้?
- ใช้ประกันชีวิตลดหย่อนภาษี แต่ตอนนี้ จ่ายต่อไม่ไหวแล้ว!
- เงินปันผล ควรยื่นภาษีหรือไม่
- อยากลดภาษี แต่มีคนมาเสนอ Unit linked?
- Mr. Phillip พาทัวร์ TFEX
- เมื่อลงทุนในหุ้นแล้ว ทำไมควรลงทุนใน TFEX ด้วย?
- 4 เรื่องควรรู้ ก่อนเทรด TFEX
- Mindset ที่ดีในการเทรด TFEX (ตอนที่ 1)
- Mindset ที่ดีในการเทรด TFEX (ตอนที่ 2)
- สถานะคงค้างคืออะไร ทำไมคนเทรด TFEX ต้องรู้?
- 4 เคล็ดลับ ที่สาย Futures ควรรู้
- มือใหม่ลงทุน TFEX ด้วย Leverage จะร้อง “โอ้โห” ถ้าใช้อย่างถูกต้อง
- Contango และ Backwardation 2 คำ ต้องจำถ้าคิดจะเทรด TFEX ตอนที่ 1
- Contango และ Backwardation 2 คำ ต้องจำถ้าคิดจะเทรด TFEX ตอนที่ 2
- ปันผลหุ้น ส่งผลอย่างไรต่อ Single stock futures?
- ประสบการณ์แค่ไหน ถึงจะพร้อมเทรด TFEX ?
- Win with Asset Allcation
- กลยุทธ์การกระจายสินทรัพย์ แบบไหน...ที่ใช่สำหรับคุณ?
- 5 วิธี แนะมือใหม่ เลือกกองทุนรวมให้เหมาะกับตัวคุณ
- 4 พฤติกรรมเสี่ยง ที่นักลงทุนควรหลีกเลี่ยง
- 3 เหตุผลช่วยตัดสินใจ ควรขายกองทุนตอนไหน?
- กองทุนรวมต่างประเทศ กับการลงทุนระยะยาว
- อายุแบบเรา จัดพอร์ตยังไงดี?
- 10 ข้อผิดพลาดของนักลงทุน - กองทุนรวม
- สาระน่ารู้ 4 รูปแบบการลงทุน
- เก็บเงินให้อยู่ ด้วยการบริหารเงินแบบ JARS
- เรื่องน่ารู้ ก่อนลงทุนในเวียดนาม
- ตลาดหุ้นสิงคโปร์ มีอะไรดีให้น่าลงทุน?
- ทำไมการ DCA เป็นการลงทุนอันชาญฉลาด?
- รู้จัก 4 Unicorn แห่งอินโดนิเซีย
- 3 วิธีวางจุด Cut Loss เลือกให้ดี หลีกหนีโอกาสเจ็บหนัก
- ความต่างระหว่าง สินค้าโภคภัณฑ์และสินค้าทั่วไป
- 7 ETFs สหรัฐ ที่เติบโตได้ดี
- รู้จัก 5 หุ้นเน้นลงทุนยาว สไตล์ วอร์เรน บัฟเฟ็ตต์
- 4 ETFs ฮ่องกง ที่น่าจับตามองใน Q2 2022
- 5 หุ้นใหญ่ฝรั่งเศส แดนแฟชั่นระดับโลก
- เริ่มต้นเทรดในตลาดสิงคโปร์ผ่าน ETF
- 4 วิธีลงทุนในโลหะมีค่า (Precious Metal)
- รู้จัก 3 ETFs ญี่ปุ่น ทางเลือกสำหรับ การลงทุนในประเทศที่พัฒนาแล้ว
- ลงทุนเงินเยนของญี่ปุ่น แบบง่าย ๆ ผ่าน 2 ETFs
- 4 เหตุผล ควรลงทุนในตลาดหุ้นเยอรมัน
- รู้จักตลาดออสเตรเลียผ่าน ETFs และหุ้นเฉพาะกลุ่ม
- 3 ทางเลือกการลงทุน ในตลาดมาเลเซีย
- ทำความรู้จัก 5 ETFs สาย Commodity
- 5 วิธีคัดเลือก ETF ให้เหมาะกับสไตล์การลงทุน
- 3 ธุรกิจ ที่ยังคงเติบโตในปี 2022
- 4 บริษัท Fintech ระดับโลก ที่คนไทยคุ้นเคย
- ETF และหุ้นแคนาดา ที่น่าสนใจในปี 2022
- ลงทุนในธุรกิจ EV ผ่านหุ้นและ ETF ตลาดสิงคโปร์
- ETF ตราสารหนี้ ทางเลือกการลงทุน ที่โดนมองข้าม
- ทำความรู้จักหุ้นดัง และ ETF รับ Theme ท่องเที่ยว
- เรื่องน่ารู้ ก่อนลงทุนในตลาดหุ้น London
- 7 ภาคส่วน ที่พร้อมเติบโตของอินโดนีเซีย
- 8 ธุรกิจสตาร์ทอัพมาแรง ของญี่ปุ่น
- โอกาสและความเสี่ยง ถ้าจะลงทุนในอินโดนีเซีย
- 4 ทางเลือก สำหรับการเริ่มลงทุนในตลาดหุ้นสหรัฐ
- รู้จักหุ้นบริษัทการท่องเที่ยวของญี่ปุ่น รับการเปิดประเทศ
- 5 ETFs สิงคโปร์ สำหรับแผนการเกษียณ
- ธุรกิจโรงแรม หลังการท่องเที่ยวเริ่มฟื้นตัว
- 9 บริษัท แห่งอุตสาหกรรมความงามญี่ปุ่น
- ทำความรู้จัก Hedge Fund กองทุนที่นักลงทุนต่างประเทศคุ้นเคย
- คู่มือการใช้งาน Efinance
E-Dividend
- e-Dividend คืออะไร?
-
การบริการโอนเงินปันผล/ดอกเบี้ย เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหลักทรัพย์ ในเรื่องการรับ เงินปันผล/ดอกเบี้ย จากบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ ซึ่งเดิมผู้ถือหลักทรัพย์จะได้รับ เงินปันผล/ดอกเบี้ย จากผู้ออกหลักทรัพย์เป็นเช็ค ซึ่งหากใช้บริการ e-Dividend ก็จะช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ ผู้ถือหลักทรัพย์ได้มากขึ้น โดยไม่เสียค่าธรรมเนียม ในการขอใช้บริการ
- ประโยชน์ที่ท่านจะได้รับจากใช้บริการ e-Dividend
-
- ได้รับเงินปันผล/ดอกเบี้ย ตรงเวลา ณ วันถึงกำหนด
- ไม่ต้องกังวลเรื่องเช็คส่งถึงมือล่าช้า หรือสูญหายระหว่างการจัดส่ง
- ไม่ต้องเสียเวลาไปธนาคารเพื่อนำเช็คไปขึ้นเงิน
- หากมีการย้ายที่อยู่โดยยังไม่ได้ดำเนินการแจ้งขอแก้ไขกับนายทะเบียน ผู้ถือหลักทรัพย์ก็จะยังได้รับเงินปันผล/ดอกเบี้ย เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร โดยต้องไม่ยุ่งยากในการรอไปรษณีย์ตีเช็คกลับคืนและจัดส่งใหม่
- ผู้ถือหลักทรัพย์ที่อยู่ต่างจังหวัดสามารถประหยัดค่าธรรมเนียม ธนาคารในการนำเช็คขึ้นเงินต่างสาขา และจะได้รับเงินปันผล/ดอกเบี้ย ทันที
ในวันที่มีการจ่ายเงินปันผล ซึ่งหากเป็นเช็คต้องใช้เวลาในการขึ้นเงินประมาณ 5-7 วัน - ผู้ถือหลักทรัพย์ยังคงได้รับหนังสือ แจ้งการนำเงินปันผล/ดอกเบี้ยเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร พร้อมหนังสือรับรอง
การหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นหลักฐานทางไปรษณีย์
- เงื่อนไขการขอใช้บริการ e-Dividend
-
- ผู้ถือหลักทรัพย์เลือกธนาคารที่จะให้นำเงินปันผลเข้าบัญชีเงินฝาก โดยเลือกเฉพาะธนาคาร ที่เป็นสมาชิก
ระบบ e-Dividend - ผู้ถือหลักทรัพย์ต้องมีบัญชีออมทรัพย์ หรือบัญชีกระแสรายวันกับธนาคารที่ท่านเลือก
- ผู้ถือหลักทรัพย์จะใช้บริการ e-Dividend ได้ในกรณีที่บริษัทผู้ออกหลักทรัพย์แจ้งความจำนงเข้าร่วมโครงการ
และหลักทรัพย์นั้นต้องมี TSD ทำหน้าที่เป็นนายทะเบียน ตรวจสอบรายชื่อบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ที่เข้าร่วมโครงการ - กรณีผู้ถือหลักทรัพย์ มีความประสงค์ที่จะแก้ไขข้อมูลส่วนตัวได้แก่ คำนำหน้าชื่อ, ชื่อ-สกุล, ที่อยู่ และสัญชาติ
ต้องแจ้งเป็นหนังสือตามแบบที่ TSD กำหนด ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม - ผู้ถือหลักทรัพย์สามารถแจ้ง ขอเปลี่ยนแปลงเลขที่บัญชีเงินฝาก หรือเปลี่ยนเงื่อนไขการรับเงิน ปันผล/ดอกเบี้ย
เป็นเช็คได้ โดยยื่นเอกสารที่แจ้งความประสงค์ ในหนังสือแจ้งเรื่องนำเงินปันผล/ดอกเบี้ย เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร
พร้อมเอกสารประกอบตามที่กำหนด
- ผู้ถือหลักทรัพย์เลือกธนาคารที่จะให้นำเงินปันผลเข้าบัญชีเงินฝาก โดยเลือกเฉพาะธนาคาร ที่เป็นสมาชิก
- วิธีสมัครใช้บริการ e-Dividend
-
ผู้ถือหุ้นที่มีความประสงค์ขอใช้บริการ สามารถทำได้โดยยื่นเอกสารดังต่อไปนี้
1. หนังสือแจ้งเรื่องนำเงินปันผล/ดอกเบี้ยเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม2. สำเนาสมุดบัญชี (เฉพาะออมทรัพย์ / กระแสรายวัน) ที่ปรากฏชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ถือหลักทรัพย์ หากประสงค์ให้โอน
เงินปันผล/ดอกเบี้ย เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารที่เป็นบัญชีร่วม ผู้ถือหลักทรัพย์จะต้องมีชื่อ เป็นหนึ่งในเจ้าของบัญชีร่วมนั้นด้วย3. เอกสารประกอบตามแต่กรณี ดังนี้ สำหรับบุคคลธรรมดา • สำเนาสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ถือหลักทรัพย์ หรือ
• สำเนาบัตรอื่น พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน (ที่ปรากฏชื่อ/เลขประจำตัวของผู้ถือหลักทรัพย์) หรือ
• สำเนาหนังสือเดินทาง / ใบต่างด้าว (บุคคลที่มิใช่สัญชาติไทย)สำหรับนิติบุคคล • สำเนาหนังสือรับรองที่ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ไม่เกิน 1 ปี และ
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของกรรมการผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคล4. วิธียื่นเอกสารขอใช้บริการ e-Dividend สามารถทำได้ 2 วิธี 4.1 ส่งไปรษณีย์ไปที่
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด
62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4
ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10330
4.2 ยื่นเอกสารผ่านโบรกเกอร์ที่ท่านเป็นลูกค้า
(หมายเหตุ : หากท่านได้สมัครใช้บริการ e-Dividend แล้ว ไม่ต้องสมัครซ้ำอีก
: บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ต้องได้รับหนังสือแจ้งความจำนง นำเงินปันผล/ดอกเบี้ย เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร
จากผู้ถือหลักทรัพย์ ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการก่อนวันปิดสมุดทะเบียน จ่ายเงินปันผล/ดอกเบี้ย ของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ หากยื่นไม่ทันระยะเวลาที่กำหนด ผู้ถือหลักทรัพย์จะได้รับเงินปันผลเป็นเช็ค)
รายชื่อธนาคารที่เป็นสมาชิกระบบ e-Dividend (เฉพาะสาขาในประเทศไทยเท่านั้น)
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารมิตซูโฮ คอร์ปอเรต จำกัด
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
ธนาคารยูโอบี รัตนสิน จำกัด
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด
ธนาคารคาลิยง
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธน
ธนาคารเจพีมอร์แกน เชส สาขากรุงเทพฯ
ธนาคารสากลพาณิชย์แห่งประเทศจีน
ธนาคารซิตี้แบงก์
ธนาคารแห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ จำกัด สาขากรุงเทพฯ
ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น
ธนาคารแห่งอเมริกา เนชั่นแนล แอสโซซิเอชั่น
ธนาคารดีบีเอสไทยทนุ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน)
ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร เอ็น.วี.ชั่น
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ฯ
ธนาคารธนชาติ จำกัด (มหาชน)
ข้อมูล ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2548 - รายชื่อธนาคารที่เป็นสมาชิก e-Dividend
-
รายชื่อธนาคารที่เป็นสมาชิกระบบ e-Dividend (เฉพาะสาขาในประเทศไทยเท่านั้น)
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารมิตซูโฮ คอร์ปอเรต จำกัด
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
ธนาคารยูโอบี รัตนสิน จำกัด
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด
ธนาคารคาลิยง
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธน
ธนาคารเจพีมอร์แกน เชส สาขากรุงเทพฯ
ธนาคารสากลพาณิชย์แห่งประเทศจีน
ธนาคารซิตี้แบงก์
ธนาคารแห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ จำกัด สาขากรุงเทพฯ
ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น
ธนาคารแห่งอเมริกา เนชั่นแนล แอสโซซิเอชั่น
ธนาคารดีบีเอสไทยทนุ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน)
ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร เอ็น.วี.ชั่น
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ฯ
ธนาคารธนชาติ จำกัด (มหาชน)